• Dreamweaver

    ใช้ Dreamweaver 8 เปิดไฟล์ .php แล้วภาษาไทยมันกลายเป็นภาษาต่างดาว

    ใช้ Dreamweaver 8 เปิดไฟล์ .php แล้วภาษาไทยมันกลายเป็นภาษาต่างดาว สาเหตุเกิดจาก dreamweaver ไม่รู้ว่าจะ encoding เพจที่เปิดแบบไหน โดยปกติ เหตุการณ์นี้จะเกิดเมื่อ เปิดหน้าที่เป็น php ล้วนๆ เช่นพวก ฟรีซอสต์ ต่างๆ วิธีแก้ เปิด dreamweaver ไปที่เมนู Edit>Preferences…> New Document >ตรง ตัวเลือก Default encoding: เลือกเป็น Thai( Windows )และติ๊กเครื่องหมายถูกหน้า Use when opening existing file that don’t specity an encoding OK และอย่าลืม กำหนด fonts ให้ถูกต้อง

    READ MORE
  • PHP

    สุ่มตัวอักษร 10 ตัว เพื่อทำ verify code หรือ รหัสผ่าน

    สุ่มตัวอักษร 10 ตัว เพื่อทำ verify code แนวคิด 1.สร้างชุดตัวอักษรตั้งแต่ a-z 2.สร้างชุดตัวอักษรตั้งแต่ A-Z 3.สร้างชุดตัวอักษรตั้งแต่ 0-9 4.เอาชุดตัวอักษรทั้ง 3 มารวมกัน 5.ทำการสับเปลี่ยนตำแหน่งตัวอักษร 6.ตัดเอามาแค่ 10 ตัวอักษร โค้ด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32   <?php […]

    READ MORE
  • PHP

    PHP : อัปโหลดรูปภาพเก็บในฐานข้อมูล ภาค 2

    ครั้งที่แล้วแสดงการ อัปโหลดภาพเก็บในฐานข้อมูล ครั้งนี้จะแนะนำการนำภาพขึ้นมาแสดงบนหน้าเว็บ  การนำภาพมาแสดงก็ไม่ได้เป็นอะไรที่มากไปกว่า เอาชื่อภาพจากฐานข้อมูล มาต่อให้ชี้ไปยังโฟลเดอร์ที่เราอัปโหลดภาพจริง เก็บไว้ ผมขอเพิ่มเติมว่า ให้สังเกตโค้ดตรงกำหนด ว่าจะให้ตารางแสดงกี่คอลัมน์ นะครับ เห็นถามกันในหลายๆเว็บบอร์ด จะเห็นว่าเราควบคุมได้ด้วยโค้ดแค่ 2 บรรทัด ดูโค้ดนะครับ   <?php // ส่วนกำหนดการเชื่อมต่อฐานข้อมูล $hostname_connection = "localhost"; $database_connection = "db_test"; $username_connection = "root"; $password_connection = ""; $connection = mysql_pconnect($hostname_connection, $username_connection, $password_connection) or trigger_error(mysql_error(),E_USER_ERROR);   mysql_query( "SET NAMES UTF8" ) ;   // ดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล ไม่มีโค้ดการแบ่งหน้านะจ๊ะ ไปเพิ่มเติมเอง   mysql_select_db($database_connection, $connection);   […]

    READ MORE
  • PHP

    PHP : อัปโหลดรูปภาพเก็บในฐานข้อมูล

    การอัปโหลดรูปภาพเก็บในฐานข้อมูล มีวิธีทำ 2 วิธี คือ อัปโหลดเป็นรูปภาพเก็บไว้ในโฟลเดอร์ แล้วเก็บชื่อภาพไว้ในฐานข้อมูล อัปโหลดรูปภาพอัดลงไปในฐานข้อมูลเลย ทั้งสองวิธีนี้ต่างมีข้อดีและข้อเสีย วิธีที่ 1 ข้อดีคือ ฐานข้อมูลไม่บวม เพราะเก็บเฉพาะชื่อรูปภาพเท่านั้น ส่วนข้อเสียคือ โฟลเดอร์ที่ใช้เก็บรูปภาพ ต้องกำหนด permission เป็น 0777 เขียนและอ่านได้ ซึ่งในบางสภาพแวดล้อม เป็นเรื่องที่ลำบาก โดยเฉพาะกับโฮสต์ที่เป็นวินโดว ต้องติดต่อ admin ให้ช่วย ช่างวุ่นวาย วิธีที่ 2 ข้อดีคือ ไม่ต้องสนใจ permisstion ของโฟลเดอร์ที่เก็บรูปภาพ ส่วนข้อเสียคือ ฐานข้อมูลจะบวมใหญ่ โดยใช่เหตุ ถ้าระบบเล็กๆก็ไม่เป็นไรหรอก แต่ถ้าระบบใหญ่ๆ มีปัญหาแน่ จะกล่าวถึงวิธีที่ 1 ก่อน ผมขอแนะนำคลาสตัวหนึ่งชื่อ class.upload.php ผมใช้อยู่ อันที่จริง php มีคำสั่งจัดการรูปภาพอยู่นะ แต่ผมว่าใช้โค้ดที่คนอื่นเขียนแจกไว้แล้ว คล่องกว่า ซึ่ง class.upload.php นี้ ความสามารถสูงส่ง […]

    READ MORE
  • Other

    display code html การแสดงโค้ด html บนหน้าเว็บ

    display code html การแสดงโค้ด html บนหน้าเว็บ ลำบากเหลือหลายเมื่อต้องการแสดงตัวอย่างโค้ด ให้สหายผู้เป็นที่รักได้เห็น ผ่านทางหน้าเว็บ เพราะเมื่อเราป้อนโค้ดเข้าไป เวลาแสดงผล มันดันทะลึ่งประมวลผล ทำให้ออกมาเป็นอะไร ที่ไม่ได้ตั้งใจให้มันเป็น มีวิธีง่ายๆ สำหรับงานนี้ด้วย find and replace ผมจะใช้ dreamweaver ช่วยละกัน แล้วอะไรล่ะที่เราต้องค้นหาและแทนที่มัน 1. เครื่องหมาย <2. เครื่องหมาย >3. ขึ้นบรรทัดใหม่4. แท็บ สองอย่างหลังนี่ เพื่อความสวยงามของผลลัพธ์ การเปิด find and replace ของ Dreamweaver ให้กดปุ่ม Ctrl+F เครื่องหมาย < แทนที่ด้วย &lt; เครื่องหมาย > แทนที่ด้วย &gt;ขึ้นบรรทัดใหม่ ในช่อง Find ให้กดปุ่ม Ctrl ค้างไว้ แล้วกด Enter […]

    READ MORE
  • MySQL

    ความเข้าใจเรื่องฟิลด์ชนิด timestamp ของ mysql

    ความเข้าใจเรื่องฟิลด์ชนิด timestamp ของ mysql timestamp ใช้สำหรับเก็บ วันที่และเวลา ซึ่งจะเก็บอยู่ในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS ที่เริ่มนับจาก วันที่ 1 มกราคม 1970:00 00 00 สำหรับช่วงข้อมูลที่เก็บได้คือ ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 1970 ถึง ปี 2037 ทีนี้ถ้าถามว่า เมื่อมีฟิลด์ datetime แล้ว ทำไมต้องมี timestamp เข้ามาอีก ฟิลด์ที่สองนี้ มีความต่างกัน 1.ช่วงวันที่ที่เก็บ datetime : 1000-01-01 00:00:00 ถึง 9999-12-31 23:59:59 (ปี-เดือน-วัน)timestamp: 1970-01-01 00:00:00 ถึง 2037-12-31 23:59:59 (ปี-เดือน-วัน) 2.ความสามารถ timestamp : เราสามารถกำหนดตั้งแต่ตอนสร้างตารางได้ว่าให้ฟิลด์นี้อัปเดตเป็นวันเวลาปัจจุบันโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการ เพิ่ม/แก้ไขข้อมูล […]

    READ MORE
  • MySQL

    การใช้ left join ภาษา sql

    การใช้ left join ภาษา sql syntax : SELECT * FROM table1 LEFT JOIN table2 ON table1.primary_key = table2.foreign_key ; left join เป็นการจับเอาตาราง 2 ตาราง มารวมกัน โดยยึดหลักว่า เอาข้อมูลจากตารางที่ 1 ทั้งหมด เอาข้อมูลจากตารางที่ 2 เฉพาะที่ตรงเงื่อนไข เท่านั้น ถ้าผมมี ตาราง ในฐานข้อมูล 2 ตาราง และ มีข้อมูล ดังนี้ ตาราง branch ตาราง member ดูคำสั่งนี้นะครับSELECT * FROM branch LEFT JOIN member ON ( branch.branch_id […]

    READ MORE
  • MySQL

    การใช้ inner join ภาษา sql

    การใช้ inner join ภาษา sql syntax : SELECT * FROM table1 INNER JOIN table2 ON table1.primary_key = table2.foreign_key ; inner join เป็นการจับเอาตาราง 2 ตาราง มารวมกัน โดยยึดหลักว่า ข้อมูลจะต้องมีตรงกัน ในทั้งสองตาราง ถึงจะเอามา ถ้าผมมี ตาราง ในฐานข้อมูล 2 ตาราง และ มีข้อมูล ดังนี้ ตาราง branch ตาราง member ดูคำสั่งนี้นะครับ SELECT * FROM branch INNER JOIN member ON ( branch.branch_id = member.branch_id) ผลลัพธ์ […]

    READ MORE
  • MySQL

    การย้าย โฟลเดอร์เก็บฐานข้อมูล ของ MySQL สำหรับผู้ลง AppServ

    การย้าย โฟลเดอร์เก็บฐานข้อมูล ของ MySQL สำหรับผู้ลง AppServ ปัญหาอย่างหนึ่งสำหรับผู้เขียน PHP เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหา จำเป็นต้องฟอร์แมตเครื่อง ต้องคอยมาย้ายฐานข้อมูล ซึ่งเก็บอยู่ที่ C:AppServmysqldata ไปเก็บไว้ที่ไดร์ฟอื่น ซึ่งถ้ามันมีน้อยๆก็ไม่เป็นไรหรอก แต่ถ้าฐานข้อมูลเยอะๆ ก็ลำบาก นี่ยังดีที่เข้าวินโดวได้ แต่ถ้าเกิดเข้าวินโดวไม่ได้ล่ะ คงต้องวุ่นวายกันใหญ่ แต่ถ้าเราย้าย ที่เก็บฐานข้อมูล ไปไว้ซะไดร์อื่นตั้งแต่ต้น ปัญหาก็จะหมดไป แต่ครั้นจะ copy and paste เข้าใจว่าย้ายแล้ว มันก็ง่ายไป พูดมากเสียเวลา เริ่มดำเนินการ 1.ไปที่ Start>All Programs>AppServ>MySQL Edit the my.ini Configuration file 2.ไฟล์คอนฟิก MySQL จะเปิดขึ้นมา ให้หาคำว่า datadir=”C:AppServ/MySQL/data/” : เปลี่ยนพาธในเครื่องหมายคำพูดเป็นพาธที่ต้องการให้เป็นที่เก็บฐานข้อมูลใหม่ 3.Save แล้ว รีสตาร์ทเครื่อง

    READ MORE
  • AppServ

    วิธีย้ายที่เก็บเว็บไซต์ สำหรับผู้ลง AppServ

    วิธีย้ายที่เก็บเว็บไซต์ สำหรับผู้ลง AppServ ปัญหาอย่างหนึ่งสำหรับผู้เขียน PHP เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์มีปัญหา จำเป็นต้องฟอร์แมตเครื่อง ต้องคอยมาย้ายเว็บไซต์ ที่เก็บอยู่ที่ C:AppServwww ไปเก็บไว้ที่ไดร์ฟอื่น ซึ่งถ้ามันมีน้อยๆก็ไม่เป็นไรหรอก แต่ถ้ารับจ้างทำเว็บ และหลายเว็บซะด้วย การย้ายก็ลำบาก นี่ยังดีที่เข้าวินโดวได้ แต่ถ้าเกิดเข้าวินโดวไม่ได้ล่ะ คงต้องวุ่นวายกันใหญ่ แต่ถ้าเราย้าย web root ไปไว้ซะไดร์อื่นตั้งแต่ต้น ปัญหาก็จะหมดไป แต่ครั้นจะ copy and paste เข้าใจว่าย้ายแล้ว มันก็ง่ายไป พูดมากเสียเวลา เริ่มดำเนินการ 1.ไปที่ Start>All Programs>AppServ>Configuration Server>Apache Edit the http.conf Configuration file 2.ไฟล์คอนฟิก Apache จะเปิดขึ้นมา ให้หาคำว่า DocumentRoot "C:/AppServ/www" <Directory "C:/AppServ/www">DocumentRoot "C:/AppServ/www" <Directory "C:/AppServ/www"> เปลี่ยนพาธให้ชี้ไปที่ที่เราต้องการเก็บเว็บใหม่ เช่น DocumentRoot "D:/AppServ/www" […]

    READ MORE