Post archive

Category: SQL

  • SQL

    SQL UCASE() Function

    ฟังก์ชั่น UCASE() ใช้สำหรับแปลงค่าในฟิลด์ให้เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด (ทั้งคำนะไม่ใช่ ทั้งตาราง) ไวยากรณ์ UCASE() SELECT UCASE(column_name) FROM TABLE_NAMESELECT UCASE(column_name) FROM table_name

    READ MORE
  • SQL

    SQL SUM() Function

    ฟังก์ชั่น SUM() ใช้สำหรับหาผลรวมของคอลัมน์ที่เป็นตัวเลข . ไวยากรณ์ SQL SUM() SELECT SUM(column_name) FROM TABLE_NAMESELECT SUM(column_name) FROM table_name

    READ MORE
  • SQL

    SQL MIN() Function

    ฟังก์ชั่น MIN() จะคืนค่าต่ำสุดในฟิลด์ที่ระบุกลับมาก หรือจะกล่าวให้ง่ายก็ได้ว่า ใช้สำหรับหาค่าต่ำสุด . ไวยากรณ์ SELECT MIN(column_name) FROM TABLE_NAMESELECT MIN(column_name) FROM table_name

    READ MORE
  • SQL

    SQL MAX() Function

    ฟังก์ชั่น MAX() จะคืนค่าที่มากที่สุดในคอลัมน์ที่ระบุ ออกมา หรือจะพูดง่ายๆก็ว่า ใช้สำหรับหาค่าที่มากที่สุด นั่นเอง. ไวยากรณ์ SELECT MAX(column_name) FROM TABLE_NAMESELECT MAX(column_name) FROM table_name

    READ MORE
  • SQL

    SQL COUNT() function

    ฟังก์ชั่น COUNT() ใช้สำหรับนับจำนวนแถวในตาราง. SQL COUNT(column_name) Syntax ฟังก์ชั่น COUNT(column_name) จะคืนค่าจำนวนแถวของฟิลด์ที่ระบุ ( จะไม่นับฟิล์ด์ที่เก็บค่า NULL ไว้ ) : SELECT COUNT(column_name) FROM TABLE_NAMESELECT COUNT(column_name) FROM table_name SQL COUNT(*) Syntax ฟังก์ชั่น COUNT(*) จะคืนค่าจำนวนแถวทั้งหมดที่มีอยู่ในตาราง : SELECT COUNT(*) FROM TABLE_NAMESELECT COUNT(*) FROM table_name ผมเพิ่งมาทราบเอาตอนเขียนบทความนี้ให้ท่านอ่านนี่แหละ ว่าสองอย่างนี้มันต่างกัน ต่างกันตรงที่  COUNT(column_name) มันไม่นับเอาตัวที่เก็บค่า NULL เข้าไปด้วย เมื่อก่อนผมยังคิดว่ามันเหมือนกันทุกประการ

    READ MORE
  • SQL

    SQL AVG() Function

    ฟังก์ชั่น AVG() ใช้สำหรับหาค่าเฉลี่ยในฐานข้อมูลจากฟิลด์ที่เป็น ตัวเลข ไวยากรณ์ SELECT AVG(column_name) FROM TABLE_NAMESELECT AVG(column_name) FROM table_name

    READ MORE
  • SQL

    SELECT DISTINCT

    ในเทเบิลจะมีบางฟิลด์ที่มีค่าซ้ำๆกัน และบางครั้งเราต้องการดึงเอาข้อมูลจากฟิลด์นั้น โดยอยากจะได้เฉพาะค่าที่มันไม่ซ้ำกันเท่านั้น ถ้าท่านเกิดกิเลสอย่างนี้เมื่อไร คำสั่ง DISTINCT ช่วยท่านได้ ไวยากรณ์ SELECT DISTINCT column_name(s) FROM TABLE_NAMESELECT DISTINCT column_name(s) FROM table_name ตัวอย่างการใช้งาน The “Persons” table: P_Id LastName FirstName Address City 1 Hansen Ola Timoteivn 10 Sandnes 2 Svendson Tove Borgvn 23 Sandnes 3 Pettersen Kari Storgt 20 Stavanger ถ้าเราต้องการเลือกเอาเฉพาะค่าที่ไม่ซ้ำกัน จากคอลัมน์   “City” เราสามารถใช้คำสั่งอย่างนี้ SELECT DISTINCT City FROM PersonsSELECT DISTINCT […]

    READ MORE
  • SQL

    SQL Update

    คำสั่ง UPDATE เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับ แก้ไขค่าในฐานข้อมูล ไวยากรณ์จะเป็นดังนี้ 1 2 3 UPDATE table_name SET column1=value, column2=value2,… WHERE some_column=some_valueUPDATE table_name SET column1=value, column2=value2,… WHERE some_column=some_value ข้อควรจำ: เมื่อเราใช้คำสั่ง UPDATE เราจะต้องระบุคำสั่ง WHERE ด้วยเสมอ ไม่งั้นแล้วมันจะไป แก้ไขค่าในฐานข้อมูลของเรา ทุกเรคคอร์ด ซึ่งมันคงไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการ ตัวอย่าง ตาราง “Persons” : P_Id LastName FirstName Address City 1 Hansen Ola Timoteivn 10 Sandnes 2 Svendson Tove Borgvn 23 Sandnes 3 Pettersen Kari […]

    READ MORE
  • SQL

    SQL DELETE Statement ลบข้อมูลใน Database

    คำสั่ง DELETE เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับลบข้อมูลในฐานข้อมูล ไวยากรณ์ DELETE FROM TABLE_NAME WHERE some_column=some_valueDELETE FROM table_name WHERE some_column=some_value Note: WHERE ใช้สำหรับระบุเงื่อนไขที่จะลบ ถ้าไม่ระบุ จะเป็นการลบข้อมูลทั้งหมดในตารางทิ้ง ตัวอย่างการใช้งาน ตาราง  “Persons” : P_Id LastName FirstName Address City 1 Hansen Ola Timoteivn 10 Sandnes 2 Svendson Tove Borgvn 23 Sandnes 3 Pettersen Kari Storgt 20 Stavanger 4 Nilsen Johan Bakken 2 Stavanger 5 Tjessem Jakob Nissestien […]

    READ MORE
  • SQL

    SQL INSERT INTO

    คำสั่ง INSERT INTO ภาษา SQL เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเพิ่มข้อมูลเข้าไปในฐานข้อมูล รูปแบบไวยากรณ์ เราสามารถเขียนคำสั่ง INSERT INTO ได้ 2 รูปแบบ 1. ไม่มีการระบุฟิลด์ วิธีนี้ values จะต้องสัมพันธ์กับลำดับฟิลด์ในฐานข้อมูล INSERT INTO TABLE_NAME VALUES (value1, value2, value3,…)INSERT INTO table_name VALUES (value1, value2, value3,…) 2.ระบุทั้งชื่อฟิลด์และค่าที่เพิ่ม INSERT INTO TABLE_NAME (column1, column2, column3,…) VALUES (value1, value2, value3,…)INSERT INTO table_name (column1, column2, column3,…) VALUES (value1, value2, value3,…) ตัวอย่างการใช้งาน สมมติว่าเรามีตารางนี้  “Persons” : […]

    READ MORE